การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
การออกแบบ
สิ่งที่ผู้ออกแบบจะต้องทราบ ได้แก่
1. วัตถุประสงค์ของการพิมพ์
2. ประเภทของผู้อ่าน
3. ลักษณะเฉพาะที่ต้องการให้มี
4. กรรมวิธีการพิมพ์และสีที่ต้องการใช้
5. ระดับและแบบของ Lay out ที่ต้องการ
แนวทางในการออกแบบ
• 1. เรียกความสนใจ เช่น
• 1.1 สะดุดตา
• 1.2 เร้าอารมณ์
• 1.3 เน้น
• 1.4 สนิทสนม
• 1.5 เอกภาพ
1.6 ลำดับเรื่อง
• 2. ออกแบบให้ผู้อ่านสนใจอ่านตลอด
2.1 ตัวพิมพ์อ่านง่าย ได้แก่
2.1.1 เนื้อหาควรใช้ตัวอักษรหัวกลมธรรมดา
2.1.2 พาดหัวควรใช้ตัวอักษรที่เด่นตามวัตถุประสงค์
2.2 ออกแบบง่าย ๆ
2.3 ออกแบบเหมาะสมกับสิ่งพิมพ์
2.4 ระบุภาพและเรื่องชัดเจน
สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ
• ความหมายของหนังสือ
หนังสือ หมายถึง การบันทึกความรู้ ความคิด ประสบการณ์ ลงบนแผ่นกระดาษขนาดเท่า ๆ กัน
โดยใช้ถ้อยคำ สำนวนโวหารในการสื่อสารให้ผู้อ่านได้รับรู้ และเข้าใจ
ซึ่งใช้การเขียน หรือพิมพ์ แล้วนำมาเย็บรวมเป็นเล่ม
• หนังสือมีประโยชน์ ดังนี้
1. บันทึกเรื่องราวต่างๆ ไว้อย่างละเอียดชัดเจน
2. ถ่ายทอดวัฒนธรรมและเรื่องราวจากอดีตถึงปัจจุบัน
3. ส่งเสริมความใฝ่รู้ให้แก่ผู้อ่านด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายและรูปเล่มที่ดึงดูดความสนใจ
4. สร้างนิสัยรักการอ่าน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ส่วนประกอบของหนังสือ
การศึกษาส่วนประกอบของหนังสือนั้น มีความจำเป็นมากสำหรับผู้อ่าน นอกเหนือจากการอ่านเนื้อเรื่องของหนังสือแล้ว ผู้อ่านควรที่จะทราบส่วนประกอบของหนังสือด้วย เนื่องจากแต่ละส่วนของหนังสือ จะบอกข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มนั้นๆ เพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการเลือกซื้อ หรือใช้ประกอบการอ้างอิงได้ หรือเพื่อประโยชน์ในการช่วยให้อ่านหนังสือได้เข้าใจยิ่งขึ้น
ซึ่งหนังสือประกอบด้วย4 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้
1. ส่วนปก (binding)
2. ส่วนประกอบตอนต้น (preliminary page)
3. ส่วนเนื้อเรื่อง (text / body of the book)
4. ส่วนประกอบตอนท้าย (auxiliary materials)
• 1. ส่วนปก (binding)
1.1 ใบหุ้มปก (book jacket / dust jacket / wrapper)
1.2 ปก (blnding / cover)
1.3 สันหนังสือ (spine)
1.4 ใบติดปก (end paper)
• 2. ส่วนประกอบตอนต้น (preliminary page)
• 2.1 ใบรองปก (fly leave)
• 2.2 หน้าชื่อเรื่อง (half title page)
• 2.3 หน้าภาพนำ (frontispiece)
• 2.4 หน้าปกใน (title page)
• 2.5 หน้าลิขสิทธิ์ (copyright page)
• 2.6 หน้าคำอุทิศ (dedication page)
• 2.7 หน้าคำนำ (preface)
• 2.8 หน้าบทนำ (introduction)
• 2.9 หน้าสารบัญ (table of contents)
• 2.10 หน้าสารบัญภาพ แผนที่ และตาราง (list of illustrations, maps and
tables)
• 3. ส่วนเนื้อเรื่อง (text or body of the book)
3.1 เนื้อหา (text / body of the book)
3.2 การอ้างอิงแทรกในเนื้อหาหรือการอ้างอิงระบบนามปี (parenthetical references)
3.3 เชิงอรรถ(การอ้างอิงท้ายหน้า)
• 4. ส่วนประกอบตอนท้าย (auxiliary materials)
4.1 ภาคผนวก (appendix)
4.2 อภิธานศัพท์ (glossary)
4.3 บรรณานุกรม (bibliography)
4.4 ดรรชนี หรือบัญชีค้นคำ(index)
คู่มือการใช้ (Operation Manual)
คืออธิบายการทำงานและขั้นตอนต่างๆ ของระบบงานในแต่ละขั้นตอน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้และปฏิบัติเพื่อใช้งานสื่อและเครื่องมือนั้นได้
องค์ประกอบของคู่มือการใช้
• 1. หน้าปก
• 2. สารบัญ
• 3. คำแนะนำความปลอดภัย/ข้อควรระวัง
• 4. ส่วนประกอบของสื่อนั้น ๆ
• 5. แผงหน้าปัดการทำงาน
• 6. คำแนะนำการใช้............(ชื่อสื่อ) ได้แก่ ข้อแนะนำในการติดตั้ง
• , ข้อแนะนำในการใช้เครื่อง
7. การดูแลรักษาและทำความสะอาด
8. การเรียกใช้บริการตรวจสอบเครื่อง
9. ข้อมูลจำเพาะ
เว็บช่วยสอนในการใส่เลขหน้าใน Adobe Indesign
http://www.phpparty.com/index.php/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1-Adobe-Indesign/254--indesign
ความรู้สึกจากการเรียนในครั้งสุดท้ายนี้....
ตอนที่อาจารย์บอกว่า...การเรียนครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้ายดิฉันรู้สึกดีใจ แต่พอมานึกดูอีกทีต้องอุทานว่า “งานเข้า” กันเลยทีเดียว งานมีไม่เยอะ แต่ต้องใช้เวลาในการทำและไม่ใช่แค่วิชาของอาจารย์เพียงอย่างเดียงนะค่ะ วิชาอื่นก็ด้วย อาจารย์สั่งงานมาไม่ยาก แต่ถ้าจะให้ออกมาสวยนี่ยากมากค่ะ แต่ก็จะพยายามทำให้ดีที่สุดค่ะ และอีกหน้าที่สำคัญคือการเก็บเงินเพื่อนๆ นี่ก็ยากพอสมควรค่ะ แต่วันนี้เพื่อนๆได้มาจ่ายเงินเกือบครบเป็นที่น่ายินดีมากค่ะ...อิอิ
แหล่งอ้างอิง
- Powerpiont = อาจารย์
- http://www.google.com/imghp?hl=en&tab=wi = รูปภาพ
ไม่เข้าใจเหมือนกันค่ะว่าทำไมไม่หาย...แก้หลายรอบม๊าก งง ด้วย ไม่เคยเป็นเลยอ่ะ ขออภํยจิงๆนะค่ะ ในกิจกรรมนี้ที่ไม่สมบูรณ์จิงๆ
ตอบลบ